วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อจัดทำชุดต้นแบบกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
1.2 เพื่อออกแบบระบบของชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
1.3 เพื่ออธิบายลักษณะและความสำคัญของการจัดวางอุปกรณ์
1.4 เพื่อให้เกิดความเข้าใจในหลักการทำงานพื้นฐานของอุปกรณ์
1.5 เพื่อจัดหาอุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับสร้างชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
1.6 เพื่อเป็นเอกสารประกอบการศึกษาเพิ่มเติมและเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับทัศนอุปกรณ์
1.2 เพื่อออกแบบระบบของชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
1.3 เพื่ออธิบายลักษณะและความสำคัญของการจัดวางอุปกรณ์
1.4 เพื่อให้เกิดความเข้าใจในหลักการทำงานพื้นฐานของอุปกรณ์
1.5 เพื่อจัดหาอุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับสร้างชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
1.6 เพื่อเป็นเอกสารประกอบการศึกษาเพิ่มเติมและเอกสารอ้างอิงเกี่ยวกับทัศนอุปกรณ์
ขั้นตอนการทำงาน
2.1 ศึกษาและรวบรวมความรู้ที่เกี่ยวกับชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
2.2 ศึกษารายละเอียดการทำงานและหน้าที่ของอุปกรณ์ที่ใช้
2.3 ออกแบบระบบและการจัดวางอุปกรณ์สำหรับชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
2.4 สำรวจ จัดหาอุปกรณ์และสรุปรายการอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการจัดทำ
2.5 สรุปคุณสมบัติพื้นฐานและลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์ที่ต้องใช้
2.6 ติดต่อขอใบเสนอราคาและสั่งซื้ออุปกรณ์
2.7 ดำเนินการทดลองจัดทำและจัดวางอุปกรณ์ตามที่ได้ออกแบบไว้แต่ละส่วน
2.8 ติดตั้งและทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัมทุกส่วน
2.9 จัดทำชุดต้นแบบชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
2.10 จัดทำคู่มือประกอบความรู้ เอกสารอ้างอิง เอกสารเผยแพร่
2.2 ศึกษารายละเอียดการทำงานและหน้าที่ของอุปกรณ์ที่ใช้
2.3 ออกแบบระบบและการจัดวางอุปกรณ์สำหรับชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
2.4 สำรวจ จัดหาอุปกรณ์และสรุปรายการอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการจัดทำ
2.5 สรุปคุณสมบัติพื้นฐานและลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์ที่ต้องใช้
2.6 ติดต่อขอใบเสนอราคาและสั่งซื้ออุปกรณ์
2.7 ดำเนินการทดลองจัดทำและจัดวางอุปกรณ์ตามที่ได้ออกแบบไว้แต่ละส่วน
2.8 ติดตั้งและทดสอบประสิทธิภาพการทำงานของชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัมทุกส่วน
2.9 จัดทำชุดต้นแบบชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัม
2.10 จัดทำคู่มือประกอบความรู้ เอกสารอ้างอิง เอกสารเผยแพร่
ผลที่ได้รับจากการทำงาน
ได้ชุดกำเนิดค่าความเป็นกลางทางควอนตัมทั้งต้นแบบห้องปฏิบัติการ (Laboratory Prototype) และต้นแบบภาคสนาม (Field Prototype) สำหรับระบบวิทยาการรหัสลับเชิงควอนตัม เพื่อใช้กำเนิดจำนวนสุ่มที่เป็นการสุ่มอย่างแท้จริง และนำไปใช้เป็นกุญแจลับ ในการเข้าและถอดรหัสข้อมูลได้
No comments:
Post a Comment